วันพฤหัสบดีที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2552

ลองดูนะครับ

พระราชทรัพย์ในพระเจ้าอยู่หัวของพวกเรา
โพสต์เมื่อ: 09:23 วันที่ 3 พ.ย. 2550 ชมแล้ว: 8,986 ตอบแล้ว: 13
รายการราชพาหนะ ไม่รวมรถตามเสด็จ

รถยนต์พระที่นั่งในพิธีการในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล
1. มายบัค 62 เลขทะเบียน ร.ย.ล.1 ทรงใช้เป็นรถยนต์พระที่นั่งทรงในปัจจุบัน
2. มายบัค 62 เลขทะเบียน 1ด-1992 ทรงใช้เป็นรถยนต์พระที่นั่งสำรองในปัจจุบัน
3. เมอร์ซิเดส เบนซ์ เอส 600 แอล เลขทะเบียน ร.ย.ล.901 ทรงใช้ในราชการประจำพระองค์ในปัจจุบัน
4. คาดิลแลค ดีทีเอส เลขทะเบียน ร.ย.ล.960 ทรงใช้ในพิธีถวายสัตย์ปฏิญาณตนและสวนสนามของทหารรักษาพระองค์ โดยรถพระที่นั่งองค์นี้ เป็นรถที่ได้รับการดัดแปลง โดยนำมาตัดหลังคา ให้เป็นรถเปิดประทุน

ข้อมูลทางเทคนิค Maybach 62
เครื่องยนต์ 12 สูบ วางเป็นรูปตัว V 3 วาล์วต่อสูบ
ปริมาตรกระบอกสูบ 5513 ซีซี
ความกว้าง x ช่วงชัก 82.0 x 87.0 มม
กำลังสูงสุด 550 แรงม้าที่ 5250 รอบ/นาที
แรงบิดสูงสุด 900 นิวตันเมตร ที่ 2300-3000 รอบ/นาที
อัตราส่วนกำลังอัด 9.0 : 1
ระบบถ่ายทอดกำลัง เกียร์ อัตโนมัติ 5-สปีด
ราคา ไม่น้อยกว่า 100,000,000 บาท

รถยนต์พระที่นั่งในพิธีการ - แปรพระราชฐานต่างจังหวัด และรถยนต์พระที่นั่งส่วนพระองค์

ทรงเก็บไว้ที่ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต
5. มายบัค 62 สีน้ำเงิน-ทอง เลขทะเบียน 1ด-1991
6. บีเอ็มดับเบิลยู 760Li สีครีม เลขทะเบียน 1ด-1993
7. โตโยต้า คัมรี่ 2.4V Navigator สีครีม
8. ฮอนด้า แอคคอร์ด 2.4 i-Vtec EL สีดำ
9. นิสสัน เทียน่า 200JK สีครีม
10. มิตซูบิชิ แลนเซอร์ ซีเดีย 1.8 SEi สีบรอนซ์ฟ้า เลขทะเบียน 1ด-4477

ทรงเก็บไว้ที่ พระราชวังไกลกังวล หัวหิน
11. โตโยต้า วีออส 1.5G Limited สีดำ
12. โตโยต้า ยาริส 1.5G Limited สีแดง
13. เล็กซัส LS460L สีครีม
14. โตโยต้า อินโนว่า 2.0 สีทอง
15. โตโยต้า ฟอร์จูนเนอร์ เอ็กเซ็กคลูทีฟ สีขาวมุก

ทรงเก็บไว้ที่ พระตำหนักภูพิงค์ราชนิเวศน์ เชียงใหม่
16. เล็กซัส LS460L สีครีม
17. โตโยต้า อินโนว่า 2.0 สีทอง
18. โตโยต้า ฟอร์จูนเนอร์ เอ็กเซ็กคลูทีฟ สีขาวมุก

ทรงเก็บไว้ที่ พระตำหนักทักษิณราชนิเวศน์ นราธิวาส
19. เมอร์ซิเดส-เบนซ์ S600 LWB W220 เลขทะเบียน ร.ย.ล.100
20. เมอร์ซิเดส-เบนซ์ S600 LWB W220 เลขทะเบียน ร.ย.ล.100
21. โตโยต้า ฟอร์จูนเนอร์ เอ็กเซ็กคลูทีฟ สีขาวมุก

ทรงเก็บไว้ที่ พระตำหนักภูพานราชนิเวศน์ สกลนคร
22. เล็กซัส LS460L สีครีม
23. โตโยต้า ฟอร์จูนเนอร์ เอ็กเซ็กคลูทีฟ สีขาวมุก

รถยนต์ซึงจัดซื้อด้วยพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ ซึ่งได้พระราชทานให้หน่วยงานหรือข้าราชบริพารใช้
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลปัจจุบัน ทรงมีรถยนต์มากมายเกินกว่าที่จะนับได้ รถส่วนหนึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานให้ข้าราชบริพารใช้ จะมีทะเบียนเป็น ดส-xxxx โดยรถจำพวกนี้ที่ประชาชนเห็นบ่อยๆ มีดังนี้
24. ฟอร์ด โฟกัส GHIA 1.8L 4Dr. พระราชทานให้เป็นรถทดลองเติมน้ำมันแก๊สโซฮอล์ ใน พระราชดำริ โดยร่วมมือกับ บริษัท ฟอร์ด เซลล์ แอนด์ เซอร์วิส (ประเทศไทย) จำกัด และ บริษัท ปตท. จำกัด มหาชน
25. ฟอร์ด เรนเจอร์ โอเพ้นแค็บไฮไรเดอร์ พระราชทานเป็นรถในโครงการทดลองข้าว โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา ในพระราชดำริ
26. โตโยต้า ไฮลักซ์ วีโก้ Extra-Cab 2.5G D4D พระราชทานให้มูลนิธิชัยพัฒนาใช้
27. โตโยต้า โคโรลล่า อัลติส 1.6G พระราชทานให้เป็นรถตัวอย่างก๊าซธรรมชาติเอ็นจีวี
28. เมอร์ซิเดส เบนซ์ S600L W220 พระราชทานให้ พลเอก เปรม ติณณสูลานนท์ องคมนตรี ใช้เป็นรถประจำตำแหน่ง
29. เมอร์ซิเดส เบนซ์ E280 W211 พระราชทานให้เป็นรถตามเสด็จ/ขบวนแดง/พระประเทียบ

1.โบอิ้ง 737-400 ซึ่งปัจจุบันเป็นเครื่องพระที่นั่งที่ประจำการ
2.Airbus 319-300 เป็นเครื่องพระที่นั่งสำรอง
3.Airbus-ACJ 319 หรือไทยคู่ฟ้าเดิม เป็นเครื่องพระที่นั่งสำรอง
และ ที่มาใหม่ลำนี้
4. โบอิ้ง 737-800 ไม่ทราบราคาจริงๆ เท่าไหร่ แต่งบประมาณที่ตั้งไว้
คือ 3100 ล้านบาท

ขอเชิญพสกนิกรชาวไทยน้อมสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณจองธนบัตรเฉลิมพระเกียรติ80ปี น้อมถวายในหลวง

แบงก์ชาติคลอดธนบัตรที่ระลึกฯ80ปี 1 บาท 5 บาท 10 บาท 15,000,000 ชุด แบบไม่ตัดแบ่งเปิดจองหมวด 9 หน้า ราคา 300 บาท ที่แบงก์พาณิชย์ แบงก์รัฐทั่วประเทศ 2 ส.ค.นี้ ส่วนหมวดปกติ 100 บาท แลกได้ 28 พ.ย.นี้
นายสมชาย ศฤงคารินกุล ผู้อำนวยการฝ่ายวางแผนและสนับสนุนการบริหาร ธปท.กล่าวว่า ถ้าจำหน่ายได้หมด จะมีรายได้ส่วนต่างจากมูลค่าหน้าธนบัตรที่ระลึกฯ หลังหักค่าใช้จ่ายจะนำขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ไม่ต่ำกว่า 1,000,000,000 บาท

ทำความรู้จัก สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์

พระราชทรัพย์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ส่วนใหญ่อยู่ในรูปของที่ดินและหุ้น โดยแบ่งออกได้เป็นส่วนๆ โดยสังเขป คือ ทรัพย์สินส่วนพระองค์ และ ทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์

ทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ เป็นการบริหารงานในรูปแบบองค์กรนิติบุคคล ดูแลและจัดประโยชน์อันเกี่ยวกับทรัพย์สินพระมหากษัตริย์ ภายใต้ชื่อ สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ทรัพย์สินส่วนใหญ่ได้แก่ที่ดินและหุ้น บัญชีรายรับ-รายจ่ายประจำปี ไม่สามารถเปิดเผยได้

เดิมสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ อยู่ในความดูแลรักษาของสำนักงานพระคลังข้างที่ ในสังกัดสำนักพระราชวัง ต่อมา มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติว่าด้วยการยกเว้นภาษีอากรเกี่ยวกับทรัพย์สิน ส่วนพระมหากษัตริย์ พุทธศักราช 2477 เมื่อวันที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2478 ทรัพย์สินส่วนพระองค์นี้ยังหมายรวมถึง เงินทูลเกล้าถวายฯ ตามพระราชอัธยาศัยต่างๆ อีกด้วย

ซึ่งรายได้หลักของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์
ส่วนหนึ่งมาจากบริษัทยักษ์ใหญ่ 2 บริษัทคือ

รายชื่อผู้ถือหุ้น 10 รายแรกของบริษัท (ณ วันปิดสมุดทะเบียนพักการโอนหุ้น เมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2548)
The Siam Cement Public Company Limited
ลำดับที่ ชื่อ ( บริษัท / สำนักงาน ) จำนวนหุ้นสามัญ ร้อยละของจำนวนหุ้นทั้งหมด
1 สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ 360,000,000 30.00
2 บริษัทไทยเอ็นวีดีอาร์ จำกัด 112,162,190 9.35
3 STATE STREET BANK AND TRUST COMPANY 27,542,917 2.30
4 บริษัททุนลดาวัลย์ จำกัด 23,202,000 1.93
5 HSBC (SINGAPORE) NOMINEES PTE LTD 17,681,514 1.47
6 สำนักงานพระคลังข้างที่ 15,473,000 1.29
7 CHASE NOMINEES LIMITED 1 15,275,220 1.27
8 บริษัทแรนเดอรีเบอรามาการ จำกัด 14,810,400 1.23
9 LITTLEDOWN NOMINEES LIMITED 14,300,000 1.19
10 มูลนิธิซิเมนต์ไทย 13,294,300 1.11

ตามทะเบียนผู้ถือหุ้น ณ 15 มีนาคม 2550
ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) 2547
ผู้ถือหุ้น หุ้นสามัญ หุ้นบุริมสิทธิ์ รวม ร้อยละ
1 สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ และกลุ่ม 232,275,685 574,114,073 806,389,758 23.72
2 กระทรวงการคลัง 15,214,380 628,849,986 644,064,366 18.95
3 DBS Bank A/C 316398-9-001 47,900,000 112,500,000 160,400,000 4.72
4 กองทุนรวมวายุภักดิ์ หนึ่ง - 160,000,000 160,000,000 4.71
5 Chase Nominees Ltd. 42 128,026,866 - 128,026,866 3.77
6 บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จำกัด 113,221,767 60,933 113,282,700 3.33
7 Littedown nominees Ltd. 112,552,400 - 112,552,400 3.31
8 HSBC (Singapore) Nominees Pte Ltd. 94,684,895 1,000 94,685,895 2.79
9 The Bank of NY Nominees Ltd Sub A/C BNY GCM Client Accounts (E) ILM 81,280,000 - 81,280,000 2.39
10 State Street Bank and Trust Company 58,950,659 420,705 59,371,364 1.75
11 ผู้ถือหุ้นอื่นๆ 1,010,625,296 28,513,553 1,039,138,849 30.57
ยอดรวมทุนชำระแล้ว 1,894,731,948 1,504,460,250 3,399,192,198 100.00
ผู้ถือหุ้นสัญชาติไทย 752,591,220 1,387,849,877 2,140,441,097 62.97
ผู้ถือหุ้นสัญชาติต่างด้าว 1,142,140,728 116,610,373 1,258,751,101 37.03
หมายเหตุ : Asia Financial Holdings Pte Ltd (TEMASEK) ถือหุ้นธนาคารในบัญชีชื่อ DBS Bank A/C 316398-9-001


สำนักข่าวบลูมเบิร์ก ได้เชิดชูถวายตำแหน่งพระเจ้าอยู่หัวของชาวเราว่า
ในหลวงของไทยครองตำแหน่งนักลงทุนอันดับ1ของประเทศ
(*บลูมเบิร์กเป็นสำนักข่าวด้านการเงินการลงทุนที่มีชื่อเสียงอันดับต้นๆของโลก)
โดยพระองค์ทรงมีหุ้นจำนวนมากถึง 7.5% ของมูลค่าตลาดรวมในตลาดหุ้นไทย

ทางด้านตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รายงานหุ้นที่ในหลวงของพสกนิกรชาวไทยถืออยู่ในนามของพระองค์ท่านมีดังนี้

1.SAMCO : บริษัท สัมมากร จำกัด (มหาชน) เจ้าของธุรกิจหมู่บ้านสัมมากร
ลำดับ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ จำนวนหุ้น (หุ้น) %
1 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช 197,414,850 43.87
2 สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสรา 45,847,050 10.19
3 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี 25,000,000 5.56
ที่มา:http://www.set.or.th/set/companyinfo.do?type=holder&symbol=samco&language=th&country=TH

2.TIC : บริษัท ไทยประกันภัย จำกัด (มหาชน) เจ้าของบริษัทประกันภัย
ลำดับ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ จำนวนหุ้น (หุ้น) %
1 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช 3,526,567 18.56
5 สำนักงานพระคลังข้างที่ บ/ช วัดพระศรีรัตนศาสดาราม 456,168 2.40
7 สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสรา 391,276 2.06
9 สำนักงานพระคลังข้างที่ บ/ช สมเด็จเจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดาฯ 299,520 1.58
15 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี 214,755 1.13
ที่มา:http://www.set.or.th/set/companyinfo.do?type=holder&symbol=tic&language=th&country=TH

3. MINT : บริษัท ไมเนอร์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด (มหาชน) เจ้าของธุรกิจพิซซ่า และไอศครีมSWENSEN
ลำดับ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ จำนวนหุ้น (หุ้น) %
1 บริษัท ไมเนอร์ คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) 503,478,032 17.19
17 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช 42,583,274 1.45
27 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช 17,300,800 0.59
28 สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสรา 16,988,094 0.58
ที่มา: http://www.set.or.th/set/companyinfo.do?type=holder&symbol=mint&language=th&country=TH

4.SINGER : บริษัท ซิงเกอร์ประเทศไทย จำกัด (มหาชน) เจ้าของธุรกิจจักรเย็บผ้าและตู้เย็นเงินผ่อนSINGER
ลำดับ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ จำนวนหุ้น (หุ้น) %
1 SINGER ( THAILAND) B.V. 129,600,000 48.00
12 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช 1,383,770 0.51

ส่วนหุ้นที่ไม่ได้ถือหุ้นในนามของพระองค์ท่าน แต่ผ่านทางสำนักงานทรัพย์สินฯ ตลาดหลักทรัพย์ก็รายงานไว้ดังนี้

DVS : บริษัท เทเวศประกันภัย จำกัด (มหาชน) เจ้าของธุรกิจประกันภัย
ลำดับ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ จำนวนหุ้น (หุ้น) %
1 สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ 10,475,992 87.30
2 บริษัท กรุงไทยพานิชประกันภัย จำกัด 1,042,200 8.69
3 คณะบุคคลนายวศิน นางกิ่งกาญจน์ โดยนายสมเกียรติ วงศ์รัตน์ 70,460 0.59
ที่มา:http://www.set.or.th/set/companyinfo.do?type=holder&symbol=dvs&language=th&country=TH

และท้ายสุด หุ้นของ บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั่น หรือ "ชินคอร์ป" หลังดีลอัปยศเมื่อวันที่ 23 มกราคม 2549
1. ผู้ถือหุ้นอื่นๆ (ต่างด้าว) 39.02%
2. Cedar Holdings Ltd. 38.62%
3. ผู้ถือหุ้นอื่นๆ (ไทย) 11.39%
4. Aspen Holdings Ltd. (TEMASEK) 10.97%

ซึ่ง
Cedar Holdings Ltd. (nominee ของ TEMASEK)
1. Cypress Holdings (TEMASEK) 49%
2. กุหลาบแก้ว จำกัด 41.1%
3. ธนาคารไทยพาณิชย์ 9.9%

โดยที่
กุหลาบแก้ว จำกัด
Cypress Holdings (TEMASEK) 49%
พงส์ สารสิน 30.96%
ศุภเดช พูนพิพัฒน์ 20%
อื่นๆ 0.04%

พงส์ สารสิน เป็น อดีตรองนายกรัฐมนตรี และ พี่ชายของ อาสา สารสิน ราชเลขาธิการในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


วิกฤติเศรษฐกิจ 2540 สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ได้รับผลกระทบอย่างรุนแรง
เพราะ บริษัทปูนซีเมนต์ไทย สูญเสียเงินไปถึง 50,000,000,000 บาท
ในขณะที่ไทยพาณิชย์ (SCB) เสีย 6,000,000,000 บาท

รัฐบาล
ตัดสินใจอัดฉีดเงินช่วย SCB 40,000,000 บาท
ช่วย หุ้น SCB ใน ITV อีก 60,000,000 บาท

สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ จึงตั้งเป้าหมายในปี 2543
จากรายได้จากการเก็บค่าเช่า 300,000,000 บาท ต่อปี เป็น
1,000,000,000 บาทต่อปี ภายในปี 2547

สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ มีโครงการ
เปลี่ยนถนนราชดำเนิน ถนนประวัติศาสตร์ เป็น สุดยอดถนนชอปปิ้งอย่าง Champ Elysees
ทุนสำหรับโครงการ 13,000,000,000 บาท
เปลี่ยนที่ดิน เป็น สุดยอดศูนย์การค้า เช่น Central World Tower
เป็นทั้งโรงแรมมหึมา สำนักงาน และ ห้างสรรพสินค้า
โดยร่วมมือกับบริษัทที่ดินจากสิงคโปร์ CapitaLand
นอกจากนี้ ยังมีที่ดินที่ปล่อยให้เช่าโดย มาบุญครอง, สยามเซนเตอร์,
สยามพารากอน, โรงแรมโพร์ซีซั่น และ บริษัทเคมปินสกี้ ธุรกิจโรงแรมยักษ์ใหญ่จากยุโรป
ซึ่ง สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ มีแผนอาจสร้างโรงแรมในบริเวณ
ใกล้สยามพารากอนอีกด้วย

ในปี 2546 สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ได้ค่าเช่าที่มากถึง 1,700,000,000 บาท
มากกว่าที่คาดไว้เดิมที่ 1,000,000,000 บาท
ในปี 2547 ได้ค่าเช่าที่ทั้งหมด 5,000,000,000 บาท

ปัจจุบัน มีจำนวน 30 ชุมชนรอบกทม. ที่มีปัญหาจากการไล่ที่ เช่น
คลองไผ่สิงโต วรจักร, ซอยหลังสวน, ซอยพระเจน, ซอยโปโล, สนามมวยลุมพินี,
ตลาดกรมภูเรศ เจริญกรุง, ตลาดนางเลิ้ง, ชุมชนเก้าพัฒนา บางกะปิ, ชุมชนบ่อนไก่,
ชุมชนวัดสุนทรธรรมทาน

มีการต่อต้าน เช่น
กลุ่มผู้เช่าศูนย์การค้าบางกอกบาซาร์ ราชดำริ 2,000 คน ซึ่งเช่าที่มากว่า 30 ปี
จะกลายเป็น ส่วนหนึ่งของโครงการสร้างศูนย์การค้าในบริเวณ Central World
กลุ่มผู้เช่าศูนย์การค้าสวนลุมไนท์บาซาร์ ซึ่งมีเนื้อที่ 130 ไร่ (206,000 ตร.ม.)
จะกลายเป็น ศูนย์การค้าซึ่งมีทั้ง สำนักงาน, บริษัทขายส่ง, คอนโดมิเนียม,
แหล่งบันเทิง, และ โรงแรม
ต้นทุนทั้งหมดสำหรับโครงการ ราคา 100,000,000,000 บาท

จากการประเมินของ Asia Sentinel
รายได้ของพระราชวงศ์ ประมาณ 1,600,000,000 บาท ต่อปี
ทรัพย์สินในหลวง อาจมากถึง 320,000,000,000 บาท
(ระหว่าง 2-8,000,000,000 ดอลล่าร์)
หุ้นของราชวงศ์อีก 40,000,000,000 บาท
ธุรกิจ สนง ทรัพย์สินอื่นๆ เช่น หนังสือพิมพ์รายวันทั้งไทยและอังกฤษ สตูดิโอผลิต
ภาพยนตร์ ธุรกิจโฆษณา บริษัทการเงิน บริษัทก่อสร้าง กลุ่มธุรกิจโรงภาพยนตร์
ธุรกิจโรงพยาบาล และ ปิโตรเคมี
ที่ดินทั้งหมด (ปี 2531) ทั่วประเทศ 250,000 ไร่ ในกทม 83,125 ไร่
มีผู้เช่าทั้งหมด 37,000 สัญญา
โดยแบ่งเป็นใน กทม. และ ปริมณฑล 25,000 สัญญา
ส่วนภูมิภาคอื่นๆ ซึ่งครอบคลุมพื้นที่ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา สุพรรณบุรี นครสวรรค์ พิษณุโลก พิจิตร ลำปาง ราชบุรี เพชรบุรี สงขลา นครปฐม ฉะเชิงเทรา และชลบุรี รวมประมาณ 12,000 สัญญา
โดยพื้นที่ กทม. บางจุด อาจมีราคาถึง 1,200,000,000 บาท

ปัจจุบัน พระเจ้าอยู่หัวของชาวเรา ทรงดำรงตำแหน่งกษัตริย์ที่ร่ำรวยที่สุดอันดับ 5 ของโลก
ซึ่งเป็นกษัตริย์แห่งทวีปเอเชียพระองค์เดียวที่ติดอันดับ 1 ใน 10 ร่วมกับสุลต่านแห่งบรูไนซึ่ง
อยู่อันดับ 1 ในขณะที่พระราชินี Elizabeth II อยู่เพียงอันดับที่ 11 เท่านั้น
ตามรายงานของ FORBES

1. สมเด็จพระรามาธิบดี บรูไน, พระชนมายุ 61 พรรษา ทรัพย์สิน 22 พันล้านเหรียญสหรัฐ
2. ประธานาธิบดีสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์, อายุ 59 ปี, ทรัพย์สิน 21 พันล้านเหรียญสหรัฐ
3. กษัตริย์แห่งซาอุดิอารเบีย, พระชนมายุ 83 พรรษา, ทรัพย์สิน 19 พันล้านเหรียญสหรัฐ
4. เจ้าผู้ครองนครดูไบ พระชนมายุ 57 พรรษา, ทรัพย์สิน16 พันล้านเหรียญสหรัฐ
5. ในหลวงของเรา พระชนมายุ 79 พรรษา, ทรัพย์สิน 5 พันล้านเหรียญสหรัฐ
6. เจ้าชายแห่งลิกเทนสไตน์ พระชนมายุ 62 พรรษา, ทรัพย์สิน 4.5 พันล้านเหรียญสหรัฐ
7. กษัตริย์แห่งโมรอกโก พระชนมายุ 44 พรรษา, ทรัพย์สิน 2 พันล้านเหรียญสหรัฐ
8. เจ้าชายโมนาโก พระชนมายุ 49 พรรษา, ทรัพย์สิน 1.2 พันล้านเหรียญสหรัฐ
9. เจ้าผู้ครองกาตาร์ พระชนมายุ 55 พรรษา, ทรัพย์สิน 1 พันล้านเหรียญสหรัฐ
10. เจ้าชายคาริม ข่าน พระชนมายุ 70 พรรษา, ทรัพย์สิน 1 พันล้านเหรียญสหรัฐ (ชนชาติ Aga Khan ชาวมุสลิมอยู่ใน 25 ประเทศทั่วโลก แต่ไม่มีประเทศเป็นของตนเอง)
11. สมเด็จพระราชินีแห่งเครือจักรภพอังกฤษ พระชนมายุ 81 พรรษา, ทรัพย์สิน 0.6 พันล้านเหรียญสหรัฐ
12. เจ้าผู้ครองนครคูเวต พระชนมายุ 78 พรรษา, ทรัพย์สิน 0.5 พันล้านเหรียญสหรัฐ
13. เจ้าผู้ครองนครโอมาน พระชนมายุ 66 พรรษา, ทรัพย์สิน 0.5 พันล้านเหรียญสหรัฐ
14. สมเด็จพระราชินีแห่งเนเธอร์แลนด์ พระชนมายุ 69 พรรษา, ทรัพย์สิน 0.3 พันล้านเหรียญสหรัฐ
15 พระราชาธิบดีแห่งสวาสิแลนด์ พระชนมายุ 39 พรรษา, ทรัพย์สิน 0.2 พันล้านเหรียญสหรัฐ

อย่างไรก็ตามสมเด็จพระจักรพรรดิแห่งญี่ปุ่น กษัตริย์แห่งเบลเยียม เนปาลและอื่น ๆ ไม่

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น